ผู้ใด มีความไร้ศีลธรรมครอบคลุม เหมือนย่านทรายคลุมไม้สาละ ผู้นั้น ชื่อว่าทำตนเหมือนถูกผู้ร้ายคุมตัว

ผู้ใด มีความไร้ศีลธรรมครอบคลุม เหมือนย่านทรายคลุมไม้สาละ ฯลฯ

ผู้ใด มีความไร้ศีลธรรมครอบคลุม เหมือนย่านทรายคลุมไม้สาละ ผู้นั้น ชื่อว่าทำตนเหมือนถูกผู้ร้ายคุมตัว (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/37.
อ่านต่อผู้ใด มีความไร้ศีลธรรมครอบคลุม เหมือนย่านทรายคลุมไม้สาละ ฯลฯ
สิ่งที่รัก (อื่น) เสมอด้วยตน ไม่มี, ทรัพย์ (อื่น) เสมอด้วยข้าวเปลือก ไม่มี, แสงสว่าง (อื่น) เสมอด้วยปัญญา ไม่มี, ฝนแลเป็นสระอย่างยิ่ง

สิ่งที่รัก (อื่น) เสมอด้วยตน ไม่มี ทรัพย์ (อื่น) เสมอด้วยข้าวเปลือก ไม่มี ฯลฯ

สิ่งที่รัก (อื่น) เสมอด้วยตน ไม่มี, ทรัพย์ (อื่น) เสมอด้วยข้าวเปลือก ไม่มี, แสงสว่าง (อื่น) เสมอด้วยปัญญา ไม่มี, ฝนแลเป็นสระอย่างยิ่ง.
อ่านต่อสิ่งที่รัก (อื่น) เสมอด้วยตน ไม่มี ทรัพย์ (อื่น) เสมอด้วยข้าวเปลือก ไม่มี ฯลฯ
เทศนา 2 ประการ

เทศนา 2 ประการ (หมวดที่ 1)

เทศนา 2 ประการ 1. ปุคคลาทิฏฐานา เทศนา การแสดงธรรมโดยการยกบุคคลขึ้นเป็นที่ตั้ง 2. ธัมมาทิฏฐานา เทศนา การแสดงธรรมโดยมีธรรมเป็นที่ตั้ง
อ่านต่อเทศนา 2 ประการ (หมวดที่ 1)
อานิสงส์ของสุจริต 5 ประการ

อานิสงส์ของสุจริต 5 ประการ

สุจริต คือ ความประพฤติดี หรือการทำความดีนั่นเอง แบ่งเป็น 3 อย่าง คือ การทำความดีทางกาย เรียกว่า กายสุจริต การทำความดีทางวาจา เรียกว่า วจีสุจริต และการทำความดีทางใจ เรียกว่า มโนสุจริต
อ่านต่ออานิสงส์ของสุจริต 5 ประการ
โทษของทุจริต 5 ประการ

โทษของทุจริต 5 ประการ

ทุจริต คือ การประพฤติชั่ว หมายเอาความชั่วทางกาย 3 ประการ ที่เรียกว่า กายทุจริต ความชั่วทางวาจา 4 ประการ ที่เรียกว่า วจีทุจริต และความชั่วทางใจ 3 ประการ ที่เรียกว่า มโนทุจริต
อ่านต่อโทษของทุจริต 5 ประการ
กุศลกรรมบถ 10 ประการ

กุศลกรรมบถ 10 ประการ

กุศลกรรมบถ แปลว่า ทางแห่งกุศลกรรม ทางแห่งความดี หรือกรรมดีอันจะเป็นทางนำไปสู่สุคติ มี 10 ประการ แบ่งออกเป็นฝ่ายกายกรรม 3 ประการ ฝ่ายวจีกรรม 4 ประการ และฝ่ายมโนกรรม 3 ประการ
อ่านต่อกุศลกรรมบถ 10 ประการ
อกุศลกรรมบถ 10 ประการ

อกุศลกรรมบถ 10 ประการ

อกุศลกรรมบถ แปลว่า ทางแห่งอกุศลกรรม ทางแห่งความชั่ว หมายถึง สิ่งที่จะนำพาเราไปสู่สิ่งที่ชั่วร้าย หรือความชั่วอันจะเป็นทางไปสู่ความเสื่อม ความทุกข์ หรือทุคติ มี 10 ประการ แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ฝ่ายชั่ว
อ่านต่ออกุศลกรรมบถ 10 ประการ