สุจริต 3 ประการ

สุจริต 3 ประการ

สุจริต แปลว่า ความประพฤติดี หมายถึง การทำความดีทางกาย ทางวาจา และทางใจ อันจะเป็นเหตุให้เกิดความสุขสงบร่มเย็นทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น มี 3 อย่าง
อ่านต่อสุจริต 3 ประการ
ทุจริต 3 ประการ

ทุจริต 3 ประการ

คำว่า “ทุจริต” แปลว่า ความประพฤติชั่ว คือความประพฤติที่เป็นบาปอกุศล ผิดศีลธรรม เป็นการกระทำที่ก่อทุกข์ก่อโทษให้แก่ตนเองและผู้อื่น มี 3 อย่าง
อ่านต่อทุจริต 3 ประการ
โอวาทของพระพุทธเจ้า 3 ข้อ

โอวาทของพระพุทธเจ้า 3 ข้อ

โอวาทของพระพุทธเจ้า หรือ พุทธโอวาท หมายถึง คำสอนของพระพุทธเจ้า หมายเอาคำสอนที่พระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ตรัสสอนเหล่าพุทธสาวก
อ่านต่อโอวาทของพระพุทธเจ้า 3 ข้อ
อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน 3 อย่าง

อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน 3 อย่าง

พระพุทธเจ้า เมื่อจะทรงแสดงธรรมแก่ใครก็ตาม พระองค์มีหลักในการแสดงธรรมอยู่ 3 ประการ ซึ่งหลักทั้ง 3 ประการนี้เอง ทำให้พระองค์ได้รับการยอมรับนับถือจากผู้ที่ได้ฟังธรรมจากพระองค์
อ่านต่ออาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน 3 อย่าง
คุณของรัตนะ 3 (คุณของพระรัตนตรัย)

คุณของรัตนะ 3 (คุณของพระรัตนตรัย)

พระรัตนตรัย พระไตรรัตน์ หรือรัตนะ 3 อย่าง ในพระพุทธศาสนา นั่นก็คือ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ นับว่าเป็นสิ่งทรงคุณค่าสุงสุด เป็นสิ่งเคารพบูชาสูงสุดในพระพุทธศาสนา
อ่านต่อคุณของรัตนะ 3 (คุณของพระรัตนตรัย)
รัตนะ 3 (พระรัตนตรัย)

รัตนะ 3 (พระรัตนตรัย)

คำว่า รัตนะ แปลว่า แก้ว ซึ่งหมายถึงสิ่งที่มีค่า หรือถ้าเปรียบกับบุคคลก็จะหมายถึงบุคคลผู้เป็นที่รักหรือทรงคุณค่า เช่น พ่อแก้ว แม่แก้ว ลูกแก้ว เป็นต้น
อ่านต่อรัตนะ 3 (พระรัตนตรัย)
ตนแล เป็นที่พึ่งแห่งตน คนอื่น ใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ ก็บุคคลมีตนฝึกฝนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่ได้ยาก

ตนแล เป็นที่พึ่งแห่งตน คนอื่น ใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ ฯลฯ

ตนแล เป็นที่พึ่งแห่งตน คนอื่น ใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ ก็บุคคลมีตนฝึกฝนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่ได้ยาก. (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/26.
อ่านต่อตนแล เป็นที่พึ่งแห่งตน คนอื่น ใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ ฯลฯ
บัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณธรรมอันสมควรก่อน สอนผู้อื่นภายหลังจึงไม่มัวหมอง

บัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณธรรมอันสมควรก่อน สอนผู้อื่นภายหลัง ฯลฯ

อตฺตานเมว ปฐมํ ปฏิรูเป นิเวสเย อถญฺญมนุสาเสยฺย น กิลิสฺเสยฺย ปณฺฑิโต. “บัณฑิต พึงตั้งตนไว้ในคุณธรรมอันสมควรก่อน สอนผู้อื่นภายหลังจึงไม่มัวหมอง” (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/36
อ่านต่อบัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณธรรมอันสมควรก่อน สอนผู้อื่นภายหลัง ฯลฯ
ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่า ตนแลฝึกได้ยาก

ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ฯลฯ

ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่า ตนแลฝึกได้ยาก (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/36.
อ่านต่อถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ฯลฯ
บุคคลไม่ควรพร่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ของผู้อื่นแม้มาก รู้จักประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน

บุคคลไม่ควรพร่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ของผู้อื่นแม้มาก ฯลฯ

บุคคล ไม่ควรพร่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ของผู้อื่นแม้มาก รู้จักประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน. (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/37.
อ่านต่อบุคคลไม่ควรพร่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ของผู้อื่นแม้มาก ฯลฯ
มาสฺสุ พาเลน สงฺคจฺฉิ อมิตฺเตเนว สพฺพทา “อย่าสมาคมกับคนพาลซึ่งเป็นดังศัตรูทุกเมื่อ”

มาสฺสุ พาเลน สงฺคจฺฉิ อมิตฺเตเนว สพฺพทา

มาสฺสุ พาเลน สงฺคจฺฉิ อมิตฺเตเนว สพฺพทา. "อย่าสมาคมกับคนพาลซึ่งเป็นดังศัตรูทุกเมื่อ" (ขุ.ชา.นวก. 27/265)
อ่านต่อมาสฺสุ พาเลน สงฺคจฺฉิ อมิตฺเตเนว สพฺพทา
น สนฺถวํ กาปุริเสน กยิรา “ไม่ควรทำความสนิทสนมกับคนชั่ว”
อติสนฺเตปิ นาสฺมเส “ไม่ควรไว้ใจคนที่แกล้งทำสงบเสงี่ยม”
นาสฺมเส อตฺตตฺถปญฺญมฺหิ “ไม่ควรไว้วางใจคนเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว”